การ ปฐมพยาบาล เลือด ออก

หน้า ซีด ลง ทุก ที สังเกต ได้ จาก ริม ฝี ปาก เล็บ ลิ้น เปลือก ตา ด้าน ใน ผิว หนัง และ ฝ่า มือ ซีด ๒. ผู้ ป่วย บอก ว่า รู้ สึก หน้า มืด เวียนศีรษะ เป็น ลม หู อื้อ ตา ลาย ๓. มี อาการช็อค คือ เหงื่อ ออก ตัว เย็น ชื้น ๔. หัว ใจ เต้น เร็ว จับ ชีพ จร ได้ เร็ว และ เบา วิธี ปฐมพยาบาล ๑. ให้ ผู้ ป่วย นอน ราบ เปิด เสื้อ ผ้า บริเวณ ที่ เลือด ออก ให้ เห็น ชัด ๒. ปลอบ ให้ ผู้ ป่วย อยู่ นิ่ง ๆ อย่า ได้ ตก ใจ ๓. คลายเครื่องแต่ง กาย ให้ หลวม ๔. ยก ส่วน ที่ เลือด ออก ให้ สูง เช่น ถ้า มี บาด แผล ที่ แขน หรือ ขา ก็ ให้ ยก แขน หรือ ขา ขึ้น สูง ทำ ให้ เลือด ไหล ช้า ลง อาจ หยุด ได้ ๕.

ทต.ทับมา ติวเข้มหลักสูตรปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานแก่ประชาชน และ อสม. | ATRAYONG RADIO

เลือดกำเดาไหล เป็นอาการที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน ส่วนใหญ่มักเป็นเวลาอากาศหนาว ขึ้นเครื่องบิน ขึ้นเขา หรือดำน้ำ ลองมาดวิธีปฐมพยาบาลที่ถูกต้องกันดีกว่า เลือดกำเดาไหล เป็นอาการที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน ส่วนใหญ่มักเป็นเวลาอากาศหนาว ขึ้นเครื่องบิน ขึ้นเขา หรือดำน้ำ เนื่องจากความกดอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว วันนี้เราจะพามาดูวิธีปฐมพยาบาลเบื้องต้น ของอาการเลือดกำเดาไหลกันว่า ที่ถูกต้องเขาทำกันอย่างไร?

เลือดออกหรือตกเลือด ร่าง กาย มี เส้น เลือด อยู่ ๓ ชนิด คือ เส้น เลือด แดง เส้น เลือด ดำ และ เส้น เลือด ฝอย ฉะนั้น เลือด ออก ได้ ๓ ทาง คือ ๑. เลือด ออก จาก เส้น เลือด แดง (arterial bleeding) เป็น เลือด ที่ ออก จาก หัว ใจ ไป เลี้ยง ส่วน ต่างๆ ของ ร่าง กาย เลือด มัก ทะลัก ออก จาก บาด แผล ตาม จังหวะ การ เต้น ของ หัว ใจ ห้าม เลือด ได้ ยาก ไม่ ค่อยหยุด หรือ ไม่ เกิด เป็น ลิ่ม เลือด มี สี แดง สด ๒. เลือด ออก จาก เส้น เลือด ดำ (venous bleeding) เป็น เลือด ที่ อวัยวะ ต่างๆ ของ ร่าย กาย ให้ ออกซิเจน แล้ว ไหล กลับ สู่ หัวใจ มัก ไหล รินๆ จาก บาด แผล มี สี แดง คล้ำ ๓. เลือด ออก จาก เส้น เลือด ฝอย (capillary bleeding) มัก เกิด ที่ บาด แผล ไม่ รุน แรง ตื้นๆ เป็น เส้นเลือด ที่ เชื่อม โยง เป็น ตา ข่าย ระหว่าง เส้น เลือด แดงกับเส้น เลือด ดำ เลือด ไหล ซึม ออก ช้าๆ ห้าม เลือด ได้ ง่าย การ ตก เลือด แบ่ง ออก ได้ เป็น ๒ ประเภท คือ ๑. การ ตก เลือด ภาย นอก ได้ แก่ บาด แผล ที่ เห็น ได้ ชัด มี เลือด ไหล ออก มาน อก ผิว หนัง ๒. การ ตก เลือด ภาย ใน ได้ แก่ เลือด ออก ใน อวัยวะ หรือ ช่อง ว่าง ต่างๆ ภาย ใน ร่าง กาย โดย ไม่ ไหล ออก มาน อก ผิว หนัง ทำ ให้ สังเกต ได้ ยาก และ เป็น อันตราย ได้ เสมอ อาการ ของ การ ตก เลือด เมื่อ เลือด ไหล ออก มาน อก เส้น เลือด ทำ ให้ ปริมาณ ของ เลือด ที่ ไหล เวียน ใน ร่าง กาย ลด ลง ความรุนแรงของ อาการ ที่ แสดง ออก ย่อม ขึ้น อยู่กับจำนวน เลือด ที่ เสีย ไป อาการ มี ดัง นี้ ๑.

ท่อน แขน ส่วน บน ประมาณ หนึ่ง ฝ่า มือ ลง มา จาก รักแร้ เพื่อ ห้าม เลือด ออก จาก มือ และ แขน ๒. ท่อน ขา ส่วน บน ประมาณ หนึ่ง ฝ่า มือ ลง มา จาก ขา หนีบ เพื่อ ห้าม เลือด จาก ขา และ เท้า วิธี ขันชะเนาะ ๑. ใช้ ผ้า เช็ด หน้า หรือ ผ้า อื่นๆ พับ เป็น เบาะ สี่ เหลี่ยม วาง บน เส้น เลือด แดง บริเวณ แข หรือ ขา จุด ที่ คลำชีพ จร พบ ๒. ใช้ ผ้า หรือ เชือก พัน รอบ แขน หรือ รอบ ขา บน เบาะ ข้าง ต้น สัก สอง รอบ ผูก เงื่อน ๑ ครั้ง และ สอด ท่อน ไม้ แท่ง ดิน สอ หรือ ไม้ บรรทัด ไว้ ตรง กลาง ก่อน ผูก เงื่อน ตาย อีก ทบ หนึ่ง วิธีขันชะเนาะบริเวณแขน โดยใช้ผ้าขาวม้าและท่อนไม้ ๓. หมุน ท่อน ไม้ ไป รอบๆ เงื่อน ที่ ผูก ไว้ หลายๆ รอบ เป็น การ ขันชะเนาะ ขัน จน เลือด ที่ ไหล ออก จาก บาดแผล หยุด ก็ พอ ผูก อีก ปลาย หนึ่ง ของ ท่อน ไม้ เข้ากับท่อน แขน หรือ ท่อน ขา เพื่อ มิ ให้ เกลียว คลาย ๔.

13. 3 การปฐมพยาบาลเลือดออกแผลเล็กและแผลใหญ่ 13. 3. 1 การปฐมพยาบาลเลือดออกแผลเล็ก 1. อันตรายจากเลือดออก ขึ้นอยู่กับจำนวนเลือดที่เสียไป และระยะเวลา ถ้าออกมากและเร็วก็อาจจะเป็นอันตรายต่อชีวิตได้โดยเร็ว 2. อาการของการเสียเลือด ถ้าออกเพียงเล็กน้อยอาจไม่มีอาการเลย ถ้าออกมากจะมีอาการตามลำดับต่อไปนี้ 1) เวียนศีรษะ 2) เหนื่อย 3) กระหายน้ำ 4) ซีด 5) กระวนกระวาย 6) เหงื่ออก ตัวเย็น (อาการเหล่านี้แสดงว่าผู้ป่วยช็อก) 7) หายใจหอบ (อาการเหล้านี้แสดงว่าผู้ป่วยช็อก) 8) คลื่อนไส้ อาเจียน (อาการเหล่านี้แสดงว่าผู้ป่วยช็อก) 9) ชีพจรเบา เร็วหรือคลำไม่ได้ (ผู้อาการเหล่านี้แสดงว่าผู้ป่วยช็อก) 3. การช่วยเหลือเลือดออกภายนอก และเลือดออกมากและเร็ว จำเป็นต้องให้การช่วยเหลือทันที โดยให้ผู้ป่วยนอนรา 1) ถ้าเป็นไปได้ให้ยกส่วนมที่เลือดออกขึ้นสูง 2) กดหรือบีบบนตำแหน่งที่เลือดออกแรงพอสมควรนานจนเลือดหยุด 3) ถ้าแผลกว้างใช้ผ้าสะอาดพับและทับลงบนแผลแรงๆจนเลือกหยยุด และพับผ้าทับให้แน่น 4) ถ้าเลือดยังออกให้พันผ้าทับลงไปอีก 4. การช่วยเหลือเลือดออกจากจมูก 1) นั่งเงยศีระไปข้างหน้า 2) น้ำแข็งวางดั้งจมูก 3) ห้ามดึงเลือดแห้งในจมูกออก 4) ห้ามสั่งน้ำมูก 5 การช่วยเหลือเลือดออกจากหู มักจะเนื่องจากฐานกะโหลกศีรษะแตก ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงศีรษะด้านที่เลือดออกอยู่ล่าง แล้วนำส่งแพทย์ทันทีห้ามทำอย่างอื่น 13.

การ ปฐมพยาบาล เลือด ออก จาก

4 วิธีปฐมพยาบาล เมื่อมีอาการ เลือดกำเดาไหล ทำยังไงให้เลือดหยุด! | MThai.com - Health | LINE TODAY

  1. เปิดสถิติ สาขาแบงก์ ใน ‘ต่างประเทศ’ 7 ธนาคาร
  2. Inverter 2000w ราคา generators
  3. การทำประกันภัย พ.ร.บ. รถยนต์ | Tip Insure
  4. | ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  5. โปรโมชั่น ชุดล้อ สีน้ำเงิน สำหรับ เวฟ125R เวฟ125x เวฟ100x และ เวฟ100s 2005 ubox ประกอบด้วย วงล้อยกขอบ ดุมกลึง ซี่ลวดชุบ บูชกลางดุม และชุดลูกปืน (ชุดล้อเวฟ125 ชุดล้อเวฟ100) - Solis Auto Parts
  6. หนังสือ ประทีป แห่ง เอเชีย

นพ. ปารยะ อาศนะเสน ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

การ ปฐมพยาบาล เลือด ออก อะไร

ถ้าเลือดออกจากบาดแผล และบาดแผลมีขนาดเล็ก ให้ล้างแผล แล้วใช้นิ้วมือที่สะอาดกดลงตรงปากแผล หรือจะใช้แผ่นผ้าสะอาดวางลงบนบาดแผล แล้วกดให้แน่นประมาณ 5-10 นาที จนเลือดหยุดแล้วจึงหยุดกดและใช้ผ้าพันไว้ 2. ถ้าเลือดออกจากบาดแผล และบาดแผลมีขนาดใหญ่ ให้ล้างแผลใช้แผ่นผ้าพับปิดปากแผล แล้วใช้ส้นมือหรือฝ่ามือกดให้แน่นประมาณ 10-15 นาที จนเลือดหยุด แล้วรีบส่งโรงพยาบาล. ถ้าเลือดไม่หยุดไหล และแผลเกิดที่แขนหรือขา ให้ใช้ส้นมือกดที่หลอดเลือดแดงที่แขนพับ (ดูรูป) หรือที่ขาหนีบ (ดูรูป) จนเลือดพอไหลซึมๆ อย่ากดจนแขนหรือขาซีดหรือเขียว แล้วรีบส่งโรงพยาบาล การกดแขนพับเพื่อห้ามเลือดที่ไหลออกจากบาดแผลใหญ่ใต้ศอกลงไป การกดขาหนีบเพื่อห้ามเลือดที่ขา 1. ถ้าเป็นบาดแผลที่อวัยวะถูกตัดขาด ให้ห้ามเลือดเช่นเดียวกับข้างต้นและนำอวัยวะส่วนที่ถูกตัดขาดใส่ถุงพลาสติกที่สะอาดและแห้ง (ห้ามล้างอวัยวะที่ถูกตัดขาด) แล้วปิดปากถุงให้แน่น แล้วแช่ถุงนั้นในถุงพลาสติกหรือภาชนะที่ใหญ่กว่าที่มีน้ำผสมน้ำแข็งอยู่ แล้วนำส่งโรงพยาบาลพร้อมผู้ป่วย 2. ถ้าเลือดออกตามไรฟัน หรือเหงือก ให้อมน้ำเย็นหรือน้ำแข็งจนเลือดหยุด/ออกน้อยลง แต่ถ้าเลือดออกตรงที่ฟันหลุด/ถอนฟัน ให้ใช้ก้อนผ้า (ผ้าชิ้นเล็กๆ ม้วนเป็นก้อนกลม) วางลงตรงจุดที่เลือดออกแล้วกัดไว้ให้แน่นประมาณ 10-15 นาทีหรือนานกว่านั้น จนเลือดหยุด.

2 การปฐมพยาบาลเลือดออกแผลใหญ่ การห้ามบาดแผลขนาดใหญ่ มีเลือดไหลพุ่ง เช่น บาดแผลเล็กเป็นนทางยาว หรืออวัยวะส่วนหนึ่งขาดหนึ่งขาดหลังจากปฐมพยาบาลแล้วจะต้องขันชะเนาะดังนี้ 1) ต้องมีผ้าสำหรับที่จะพันแขนหรือขา ได้อย่างน้อย 2 รอบ ท่อนไม้แท่นแข่ง เพื่อจะบิดขันชะเนาะและเชือกที่จะยึดชะเนาะหลังขัน 2) พันผ้ารอบต้นแขน ขา ในส่วนที่ได้รับบัติเหตุ 2 รอบ เหนือแผลประมาณ 3 นิ้ว แล้วผูกเงื่อนแรกแล้ว 3) ใช้ท่อนไม้วางบนเชือกเงื่อนแรก แล้วผูกเชือก 2. 3 ทบ 4) หมุนหรือขันชะเนาะจนสังเกตเห็นว่าเลือหยุดไหลแล้ว 5) ใช้เชือกผูกตึงปลายชะเนาะกันคลาย 6) คลายชะเนาะแล้วขันใหม่ทุก 20 นาที จนกว่าจะถึงมือแพทย์

จุด ที่ คอ โดย กด ที่ เส้น เลือด ใหญ่ ใกล้ หลอด ลม เพื่อ ห้าม เลือด ที่ศีรษะและ ใบ หน้า ใช้ ใน กรณี ที่ บาดเจ็บ ฉกรรจ์ บน ใบ หน้า ใช้ วิธี อื่น แล้ว ไม่ ได้ ผล ควร ให้ ผู้ ป่วย หัน หน้า ไป ด้าน ตรง ข้าม วิธี นี้ อาจ ทำ ให้ ผู้ป่วย หมด สติ ได้ ผู้ ช่วย เหลือ ไม่ ควร ใช้ จุด นี้ พร่ำ เพรื่อ หาก ไม่ จำ เป็น จริง ๒. จุด ที่ หน้า หู โดย กด ลงกับกะโหลกศีรษะ เพื่อ ห้าม เลือด ที่ ออก จาก หนังศีรษะ ๓. จุด ใต้ คาง ห่าง จาก มุม กระดูก คาง มา ยัง ข้าง หน้า ประมาณ ๑ นิ้ว เพื่อ ห้าม เลือด ออก จาก บริเวณ ปาก และ จมูก ๔. จุด เหนือ กระดูก ไห ปลา ร้า โดย กด ลงกับก ระดู ซี่ โครง ซี่ ที่ ๑ เพื่อ ห้าม เลือด ออก บริเวณ แขน ข้าง นั้น ๕. จุด บริเวณ ต้น แขน ด้าน ชิดกับลำ ตัว อยู่ ประมาณกิ่งหนึ่ง ระหว่าง หัว ไหล่กับข้อ ศอก เพื่อ ห้าม เลือด ออก บริเวณ แขน ส่วน ล่าง ลง มา ๖. จุด สอง ข้าง บริเวณ ด้าน ใน ของ ข้อ มือ เพื่อ ห้าม เลือด บริเวณ มือ ข้าง นั้น ๗. จุด บริเวณ ขา ใช้ กด ลง ไป ตรง กึ่ง กลาง ของ ขา หนีบ เพื่อ ห้าม เลือด บริเวณ ขา ข้าง นั้น วิธีห้ามเลือดด้วยการกดเส้นเลือดแดง: ก. เลือดออกจากบริเวณปากและจมูก ใช้นิ้วกดบนเส้นเลือดแดงที่อยู่บนขากรรไกรล่าง ข.